สรุปวิจัย
ชื่อเรองผลการพัฒนาทักษะวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นอุนบาลปที่2
ตามแนวคิดพัฒนาการและการเรียนรู้ของสมอง(Brain–based
Learning)
ผูศึกษาคนควา
นางสาวสารภี ชมภูคํา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ความหมายของการค้นคว้า
1.เพื่อนพัฒนาแผนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสาตร์ชั้นพื้นฐานของ
อ.2 ตามแนวคิดพัฒนาการและการเรียนรู้ของสมอง(Brain–based
Learning)
2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะวิทยาศาสตร์ชั้นพื้นฐานของ
อ.2 ตามแนวคิดพัฒนาการและการเรียนรู้ของสมอง(Brain–based
Learning) ก่อนและหลังการจักประสบการณ์
3.เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลการจัดแผนการเรียนรู้ประสบการณ์วิทยาศาสาตร์ชั้นพื้นฐานของ
อ.2 ตามแนวคิดพัฒนาการและการเรียนรู้ของสมอง
นิยามศัทพ์เฉพาะ
1.ทักษะวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน
1.1ทักษะการสังเกต
1.2ทักษะการวัด
1.3ทักษะการจำแนก
2.แนวคิดพัฒนาการและการเรียนรู้ของสมอง
3.การพัฒนาทักษะวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นอุนบาลปที่2ตามแนวคิดพัฒนาการและการเรียนรู้ของสมอ
3.1 ขั้นกำหนดปัญหา
3.2ขั้นทดลอง
3.3ขั้นสรุปผล
4.ประสิทธิผลการจัดแผนการเรียนรู้ประสบการณ์
5.ดัชนีประสิทธิผล
ตัวอย่างแผนการจัดประสบการณ์
สาระการเรียนรู้
ในบริเวณโรงเรียนมีต้นไม้หลายชนิด เช่น ต้นมะพร้าน ต้นมะม่วง ต้นขนุน
จุดประสงค์การเรียนรู้
-ทักษะการสังเกต
เด็กบอกความแตกต่างของต้นไม้ใส่บริเวณโรงเรียนได้
-ทักษะการจำแนก
เด็กจัดประเภทต้นไม้ได้
กิจกรรมการสอน
ขั้นนำ
1 ครูและเด็กสนทนาถึงต้นไม้ที่ในบริเวณโรงเรียน
2 ครูชักชวนเด็กไปหอประชุมร่วมกันสนทนาการไปสำรวจต้นไม้
โดยใช้นั่งเป็นกลุ่ม
3.ครูกำหนดปัญหา
บริเวณโรงเรียนมีต้นไม้อะไรบ้าง และแต่ละต้นแตกต่างกันอย่างไร
4.เด็กคิว่าน่าจะมี
ต้นมะพร้าน ต้นตาล ต้นมะขาม (เด็กตอบแล้วครูจดบันทึก)
ขั้นสอน
1ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มแล้วให้ไปสำรวจต้นไม้ในบริเวณโรงเรียน
โดยถามรุ่นพี่ว่าต้นไม้ชื่อต้นอะไร
2เด็กจำต้นไม้แต่ละประเภทแตกกันอย่างไร
3ครูใช้คำถามกระตู้พัฒนาการ
ดังนี้
-ต้นไม้ในบริเวณโรงเรียนมีต้นอะไรบ้าง
-ต้นไม้ชนิดใดสูง
-ต้นไม้ชนิดใดเตี้ย
-ปลูกไว้ประทานมีต้นอะไรบ้าง
-ปลูกไว้สวยงามงามมีต้นอะไรบ้าง
ขั้นสรุป
1เด็กและครูร่วมกันสรุปชื่อต้นไม้บริเวณโรงเรียน
มีต้นพร้าว ต้นตาล ต้นมะมว่ง ต้นมะขาม ต้นไผ่
2ครูสรุปจัดประเภทต้นไม้
ดังนี้
ต้นไม้กินผล
ได้แก่ ต้นขนุน ต้นพร้าว
ต้นไม้รับประาทนผลไม่ได้
ได้แก่ ต้นไผ่
3ส่งแทนตัวกลุ่มละ1คน
พูดเรื่องการไปสำรวจต้นไม้ในบริเวณโรงเรียน
สื่อ/อุปกรณ์
ต้นไม้บริเวณในโรงเรียน
เช่น ต้นมะมว่ง ต้นไผ่
การประเมิน
- เด็กบอกชื่อต้นไม้ในบริเวณโรงเรียนได้
-เด็กจัดประเภทของต้นไม้ได้
สรุปโทรทัศน์ครู
เรื่อง กิจกรรม 5 ประสาทสัมผัส
สรุปโทรทัศน์ครู
เรื่อง กิจกรรม 5 ประสาทสัมผัส
ประสานสัมผัสทั้ง 5 คือ
ตา-มีไว้ดู หมายถึงการมองวัถตุที่มีขนาดเล็ก-ใหญ่และนำไปเชื่อมโยงกับความหนาบางของวัถตุ
รูปทรงรูปร่างของวัตถุผ่านกิกรรมการลงมือปฏิบัติ
หู-มีไว้ฟัง การฟังเสียงของวัตถุหรือการฟังเสียงดังหรือเบา หรือเบาไปดังของวัตถุผ่านการได้ลงมือทำจริง
จมูก-มีไว้ดมกลิ่นเด็กจะได้เรียนรู้เรื่องกลิ่น หอม เหม็น จากการเรียนรู้ทางการทดลอง
สิ้น-ชิมรสเด็กจะมีการเรียนรู้เรื่องรสชาติอยู่ 4รส หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม ผ่านทดลองจริง
ผิวสัมผัส การใช้มือสัมผัสการวัถตุที่มีลักษณะที่ต่างกัน หยาบ เรียบ
ประสาทสัมผัสเป็นองค์ประกอบหนึ่งในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพราะเด็กมีการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
ในการลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามองเพื่อสังเกต หูฟังคำถามที่ครูถาม การทดลองต้องก็ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 มีการใช้จมูกดมกลิ่นว่ามีกลิ่นหอม เหม็น สิ้นชิมรสชาติว่า หวานเปรี้ยวเค็ม ขมผิวสัมผัสวัตถุว่าเรียบ หยาบ